การป้องกัน COVID-19 ด้วยยารับประทาน นอกเหนือจากการฉีดวัคซีน องค์การอนามัยโลก (WHO) ประเมินว่า COVID-19 จะระบาดตลอดปีนี้ (2021) หรือจนกว่าจะเกิด "Herd immunity" (ภูมิคุ้มกันระดับชุมชน) วัคซีนต้องใช้เวลาอีกหลายเดือนหรือเป็นปีกว่าจะเห็นผลชัด ล่าสุด 23 มกราคม 2021 ทั่วโลก มีการฉีดวัคซีน COVID-19 ไปแล้วทั้งหมด มากกว่า 60 ล้านโดส โดยประเทศสหรัฐอเมริกาฉีดไปมากที่สุดคือประมาณ 20 ล้านโดส ในขณะที่ประเทศอิสราเอลฉีดให้กับประชาชนเป็นเปอร์เซ็นต์สูงที่สุดคือประมาณเกือบ 40% ของจำนวนประชากร WHO ประเมินว่าการระบาดจะยุติหากประชากรโลก 65-70% ได้รับวัคซีน (หมายถึง 70% ในทุกพื้นที่ ในขณะที่ประชากรโลกมีจำนวนราว ๆ 7,300 ล้านคน ณ เดือนมกราคม ค.ศ. 2020) หรือคิดเป็นจำนวน 5,000+ ล้านคน Amesh Adalja จาก Johns Hopkins Center for Health Security กล่าวทำนองเดียวกันว่า สหรัฐจะปลอดโรคระบาดหากคนในประเทศ 70% ขึ้นไปได้รับวัคซีน ทั้งนี้ขึ้นกับประสิทธิภาพวัคซีนด้วย หากประสิทธิภาพต่ำตัวเลขผู้ฉีดวัคซีนต้องมากกว่านี้ วัคซีนที่ใช้ขณะนี้เป็นวัคซีนรุ่นแรก ไม่มีวัคซีนตัวใดให้ผลเต็มร้อย หมายความว่ายังมีคนที่จะติดโรคแม้ได้รับวัคซีนแล้ว นอกจากนี้Anthony Stephen Fauci ชี้ว่า คนที่ฉีดวัคซีนแล้วไม่ได้แปลว่าจะไม่ติดเชื้อโรค COVID-19 อีก เพียงแต่เมื่อติดเชื้อจะไม่ป่วยหนักหรือไม่รู้สึกว่าป่วยและยังเป็นผู้แพร่เชื้อได้ด้วย เนื่องจากต้องฉีดทั่วโลก ฉีดให้มากที่สุด เรื่องนี้จำต้องใช้เวลาและจะกินเวลาไม่เท่ากัน ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคสหรัฐ (CDC) คาดว่าอเมริกาจะใช้เวลา 6-9 เดือน ในขณะที่อินเดีย ประเมินว่าต้องใช้เวลาถึง 3 ปีกว่าคนอินเดียได้วัคซีนครบ ใกล้เคียงกับที่รัฐบาลฟิลิปปินส์ประเมินว่าจะต้องใช้เวลา 3-5 ปีกว่าจะฉีดวัคซีนให้ประชากร 60-70% เพียงพอต่อการควบคุมโรคระบาด ประโยชน์ของวัคซีนรุ่นแรกคือป้องกันเจ็บป่วยรุนแรง แต่ยังติดเชื้อและแพร่เชื้อแก่คนอื่นโดยไม่รู้ตัว นั่นหมายความว่า หากคนที่ได้รับวัคซีนแล้วใช้ชีวิตแบบไม่ควบคุมการแพร่เชื้อ คนที่ยังไม่ได้รับวัคซีนก็ยังเสี่ยงติดโรคจากคนที่ได้รับวัคซีนไปแล้ว จาก วัคซีนโควิด-19 ความหวังที่ค่อยๆ โผล่ขึ้นมา อิสราเอลเป็นโมเดลเร่งฉีดวัคซีน COVID-19 ต้นแบบของโลกคือเป็นประเทศที่มีการฉีดวัคซีนเร็วที่สุดในโลก พบว่าอัตราการติดเชื้อไวรัส COVID-19 ในกลุ่มประชาชนที่ได้รับการฉีดวัคซีน ลดลงมากถึง 33% ภายใน 2 สัปดาห์หลังจากได้รับการฉีดวัคซีน ประชาชนชาวอิสราเอลทั้งหมด 189,000 รายที่ได้รับการตรวจหาเชื้อหลังฉีดวัคซีนต้านโควิด-19 ของไฟเซอร์ไบโอเอ็นเทค (Pfizer-BioNtech) และพบว่าประชาชนกว่า 12,400 รายหรือประมาณ 6.6% มีผลตรวจเป็นบวก ดังนั้น การฉีดวัคซีน COVID-19 จะคงยังเป็นตัวเปลี่ยนเกม Game Changer ของการระบาด COVID-19 ได้จริงหรือ? ยารับประทาน Ivermectin ที่มีการศึกษาจำนวนมากว่าสามารถใช้สำหรับป้องกันและรักษา COVID-19 ได้ https://ivmmeta.com/ เมื่อเปรียบเทียบกับการฉีดวัคซีน COVID-19 ซึ่งเป็นการป้องกันก่อนการสัมผัสโรค Pre-exposure prophylaxis คือภูมิต้านทานที่สามารถป้องกันโรคได้เต็มที่ จะเกิดหลังประมาณ 1-2 อาทิตย์หลังจากการฉีดวัคซีนเข็มที่ 2 ในขณะที่การรับประทานยา Ivermectin นอกจากจะสามารถป้องกันก่อนการสัมผัสโรค Pre-exposure prophylaxis แล้ว ยังสามารถป้องกันหลังการสัมผัสโรค Post-exposure prophylaxis หลังจากไปสัมผัสโรคมา และยังนำมาใช้ในการรักษาเมื่อเป็นโรคแล้ว ทั้งในระยะแรก Early treatment in symptomatic phase และระยะหลังของโรค Late treatment in pulmonary phase ได้อีกด้วย
ยา Ivermectin มีฉายาว่า ยาอัศจรรย์ Wonder drug 1. Ivermectin, ‘Wonder drug’ from Japan: the human use perspective 2. Ivermectin 20 years on: maturation of a wonder drug 3. Ivermectin: enigmatic multifaceted ‘wonder’ drug continues to surprise and exceed expectations นอกจาก ยา Ivermectin จะเป็นยาต้านปรสิต Anti-parasite ยังมีฤทธิ์เป็นยาต้านแบคทีเรีย Anti-bacteria ยาต้านไวรัส Anti-virus และยาต้านมะเร็ง Anti-cancer ได้อีกด้วย หลังจากที่ Dr.Andrew Hill ภาควิชาเภสัชวิทยา University of Liverpool (UK) ประเทศอังกฤษ ได้รายงานผลการวิเคราะห์ Meta-analysis ทางคลินิก ถึงประสิทธิภาพของ Ivermectin (IVM) ต่อการรักษาติดเชื้อ COVID-19 เมื่อวันที่ December 30, 2020 สรุปได้ดังนี้ว่า 1.ใช้เวลาในการกำจัดไวรัสได้เร็วขึ้น https://swprs.org/who-preliminary-review-confirms-ivermectin-effectiveness/ สถาบันสุขภาพแห่งชาติ National Institute of Health (NIH) ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งแต่เดิมแนะนำให้ต่อต้าน คัดค้าน recommendation “against” การใช้ยา Ivermectin ในการรักษาผู้ป่วย COVID-19 ทำให้แพทย์ใน US ไม่สามารถสั่งยาให้การรักษา COVID-19 ด้วยยา Ivermectin นี้ได้ โดย NIH ได้แก้ไขแนวทางการรักษา Ivermectin สำหรับการรักษา COVID-19 ไปเป็นคำแนะนำที่ "ไม่ยอมรับหรือไม่ห้ามและต่อต้าน" “neither for nor against” recommendation นอกจากในหลายเมือง หลายรัฐ ในหลายประเทศ เช่น Argentina Australia Bangladesh Bolivia Brazil Costa Rica Dominican Republic El Salvador Ethiopia Guatemala Hungary India Panama Peru และแม้แต่ใน USA ได้มีการใช้ Ivermectin สำหรับป้องกันและรักษา COVID-19 แล้ว ผู้อำนวยการด้านสุขภาพ Dr. Noor Hisham Abdullah ของประเทศมาเลเซียกล่าวว่ารัฐบาลกำลังพัฒนาการทดลองทางคลินิกสำหรับยาสองชนิด เพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพในการรักษา COVID-19 ยาทั้งสองชนิดคือ Ivermectin (IVM) และ Favipiravir ยา Favipiravir เป็นยาต้านไวรัสสำหรับรักษาไข้หวัดใหญ่ที่ใช้ยาอื่นไม่ได้ผล พัฒนาที่ประเทศญี่ปุ่น และผลิตในประเทศจีน ที่ประเทศไทยนำเข้ามาใช้เป็นยาหลักในการรักษา COVID-19 ศาสตราจารย์ Peter Horby นักวิจัยจากมหาวิทยาลัย Oxford ประเทศอังกฤษ กำลังวางแผนทดลอง COVID-19 ที่ใหญ่ที่สุดใน UK โดยใช้ยา Ivemectin เป็นครั้งแรก ดังนั้น ในขณะที่ทุกประเทศตั้งความหวังไว้กับการระดมฉีดวัคซีน COVID-19 ที่จะทำให้ทุกประเทศเดินหน้าต่อไปได้ทางเศรษฐกิจและสาธารณสุข การใช้ยารับประทาน Ivermectin ที่ใช้สำหรับป้องกันและรักษา COVID-19 ถ้าเล่นหวย แทงโต๊ด โอกาสถูกได้มากกว่า แทงตัวเดียว
ตอนที่1
http://oknation.nationtv.tv/blog/dengue/2021/01/10/entry-1
ตอนที่ 2
http://oknation.nationtv.tv/blog/dengue/2021/01/10/entry-2
ตอนที่ 3
โดย Dr.Andrew Hill ภาควิชาเภสัชวิทยา University of Liverpool (UK) ประเทศอังกฤษ ได้รับการสนับสนุนจากองค์กร Unitaid ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งขององค์การอนามัยโลก (WHO)
http://oknation.nationtv.tv/blog/dengue/2021/01/10/entry-3
ตอนที่ 4
http://oknation.nationtv.tv/blog/dengue/2021/01/10/entry-4
ตอนที่ 5
http://oknation.nationtv.tv/blog/dengue/2021/01/16/entry-1
ตอนที่ 6
http://oknation.nationtv.tv/blog/dengue/2021/01/18/entry-1
ตอนที่ 7
http://oknation.nationtv.tv/blog/dengue/2021/01/24/entry-1
ตอนที่ 8
http://oknation.nationtv.tv/blog/dengue/2021/01/27/entry-1
ตอนที่ 9
http://oknation.nationtv.tv/blog/dengue/2021/01/28/entry-1
ตอนที่ 10
|
ถึง บล็อกเกอร์ ทุกท่าน โปรดอ่าน
ด้วยทาง บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) ได้ติดต่อขอความร่วมมือ มายังเว็บไซต์และเว็บบล็อกต่าง ๆ รวมไปถึงเว็บบล็อก OKnation
ห้ามให้มีการเผยแพร่ผลงานอันมีลิขสิทธิ์ ของบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ฯ บนเว็บ blog โดยกำหนดขอบเขตของสิ่งที่ห้ามทำ และสามารถทำได้ ดังนี้
ห้ามทำ - การใส่ผลงานเพลงต้นฉบับให้ฟัง ทั้งแบบควบคุมเพลงได้ หรือซ่อนเป็นพื้นหลัง และทั้งที่อยู่ใน server ของคุณเอง หรือ copy code คนอื่นมาใช้ - การเผยแพร่ file ให้ download ทั้งที่อยู่ใน server ของคุณเอง หรือฝากไว้ server คนอื่น สามารถทำได้ - เผยแพร่เนื้อเพลง ต้องระบุชื่อเพลงและชื่อผู้ร้องให้ชัดเจน - การใส่เพลงที่ร้องไว้เอง ต้องระบุชื่อผู้ร้องต้นฉบับให้ชัดเจน จึงเรียนมาเพื่อโปรดปฎิบัติตาม มิเช่นนั้นทางบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ฯ จะให้ฝ่ายดูแลลิขสิทธิ์ ดำเนินการเอาผิดกับท่านตามกฎหมายละเมิดลิขสิทธิ์
OKNATION
กฎกติกาการเขียนเรื่องและแสดงความคิดเห็น
1 การเขียน หรือแสดงความคิดเห็นใด ๆ ต้องไม่หมิ่นเหม่ หรือกระทบต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ หรือกระทบต่อความมั่นคงของชาติ
2. ไม่ใช้ถ้อยคำหยาบคาย ดูหมิ่น ส่อเสียด ให้ร้ายผู้อื่นในทางเสียหาย หรือสร้างความแตกแยกในสังคม กับทั้งไม่มีภาพ วิดีโอคลิป หรือถ้อยคำลามก อนาจาร 3. ความขัดแย้งส่วนตัวที่เกิดจากการเขียนเรื่อง แสดงความคิดเห็น หรือในกล่องรับส่งข้อความ (หลังไมค์) ต้องไม่นำมาโพสหรือขยายความต่อในบล็อก และการโพสเรื่องส่วนตัว และการแสดงความคิดเห็น ต้องใช้ภาษาที่สุภาพเท่านั้น 4. พิจารณาเนื้อหาที่จะโพสก่อนเผยแพร่ให้รอบคอบ ว่าจะไม่เป็นการละเมิดกฎหมายใดใด และปิดคอมเมนต์หากจำเป็นโดยเฉพาะเรื่องที่มีเนื้อหาพาดพิงสถาบัน 5.การนำเรื่อง ภาพ หรือคลิปวิดีโอ ที่มิใช่ของตนเองมาลงในบล็อก ควรอ้างอิงแหล่งที่มา และ หลีกเลี่ยงการเผยแพร่สิ่งที่ละเมิดลิขสิทธิ์ ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบหรือวิธีการใดก็ตาม 6. เนื้อหาและความคิดเห็นในบล็อก ไม่เกี่ยวข้องกับทีมงานผู้ดำเนินการจัดทำเว็บไซต์ โดยถือเป็นความรับผิดชอบทางกฎหมายเป็นการส่วนตัวของสมาชิก คลิ้กอ่านเงื่อนไขทั้งหมดที่นี่"
OKnation ขอสงวนสิทธิ์ในการปิดบล็อก ลบเนื้อหาและความคิดเห็น ที่ขัดต่อความดังกล่าวข้างต้น โดยไม่ต้องชี้แจงเหตุผลใดๆ ต่อเจ้าของบล็อกและเจ้าของความคิดเห็นนั้นๆ
|
||
![]() ![]() |
<< | มกราคม 2021 | >> | ||||
อา | จ | อ | พ | พฤ | ศ | ส |
1 | 2 | |||||
3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 |
10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 |
17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 |
24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 |
31 |