*/
<< | เมษายน 2021 | >> | ||||
อา | จ | อ | พ | พฤ | ศ | ส |
1 | 2 | 3 | ||||
4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 |
11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 |
18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 |
25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 |
เรียนบาลีกันเถอะ (7) : ว่าด้วยเรื่องกริยา ต้องขอออกตัวแรงๆ มากๆๆๆ และกราบขออภัยอย่างสูง สำหรับท่านที่ติดตามการเรียนภาษาบาลีนะครับ ไม่อยากจะแก้ตัว แต่ก็ต้องแก้ เรื่องของเรื่องคือหลายปีที่ผ่านมา (ประมาณ 4 ปีที่แล้ว) ผมได้ใช้เวลาในการเรียนของตัวเอง บัดนี้ภาระด้านการเรียนจบไปแล้ว คงเหลือแต่การทำงาน จะว่าไปก็อดคิดถึงความรู้สึกดีๆ ที่เขียนไปแล้วมีคนมาอ่าน มาคอมเม้นท์ไม่ได้ จะไปเขียนต่อก็กระไรๆอยู่ เลยตัดส.... |
เชื่อว่าหลายคนต้องตัดสินใจในเรื่องสำคัญๆเสมอ แต่เรื่องสำคัญของคนหนึ่งอาจจะธรรมดาสำหรับอีกคนก็ได้ อันนี้ก็นานาจิตตัง สำหรับข้าพเจ้าแล้ว เรื่องนี้แหละสำคัญสุดละ ก็เรื่องตัดผมนี่แหละ เล็งมาตั้งนาน ตอนแรกกะว่าจะรอกลับไทยก่อนค่อยไปตัด แต่มีหลายเสียงหนาหูเหลือเกิน ผมยาวแล้วดูแก่ ดูโทรม ถึงแม้ว่าเราจะหน้าอ่อน ยังไง พอได้ฟังเยอะๆก็เขวเหมือนกันนะสุดท้ายก็มาถึงวันนั้น เรื่องมีอยู่ว่า ตื่นเช้ามาหลังจากอาบน้ำเสร.... |
เรียนบาลีกันเถอะ(6) : ว่าด้วยการแจกวิภัตติที่เหลือต้องกราบขออภัยอย่างแรง สำหรับท่านที่ต้องการเรียนภาษาบาลีครับ พอดีว่าผมต้องไปจัดการปัญหาการเรียนของตัวเองเล็กน้อย เลยทำให้การอัพเดทภาษาบาลีล่าช่าไปนิด คงไม่ว่ากันนะครับ เรามาต่อกันเลยดีกว่า...ครั้งที่แล้วได้พูดถึงเรื่องการแจกวิภัตติไป 2 วิภัตติแล้วนะครับ วันนี้มาว่ากันต่อถึงวิภัตติที่เหลือ ตั้งแต่ 3-8 ครับ ชื่อวิภัตติเอกวจนะพหุวจนะปฐมาวิภัตติโ--าทุติ.... |
เรียนบาลีกันเถอะ(5) : ว่าด้วยการแจกวิภัตติที่ 2ครั้งที่แล้วได้พูดถึงเรื่องการแจกวิภัตติในภาษาบาลีว่ามีทั้งหมด 8 วิภัตติด้วยกัน เราได้ฝึกแจกวิภัตติไปบ้างแล้ว คือส่วนที่เป็นประธาน เรียกว่าวิภัตติที่ 1 หรือบาลีท่านเรียกว่า ปฐมาวิภัตติวันนี้จะมาพูดถึงวิภัตติที่ 2 หรือเรียกว่า ทุติยาวิภัตติ วิภัตตินี้ทำหน้าที่เป็นกรรมในประโยค คำแปลประจำวิภัตติที่ 2 คือ ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, กะ, ตลอดอ การันต์ ปุงลิงค์ว.... |
เรียนบาลีกันเถอะ(4): ว่าด้วยการแจกวิภัตติและแล้วก็มาถึงจนได้ สำหรับเรื่องการแจกวิภัตติ แต่เดี๋ยวก่อน... ก่อนจะไปเรื่องนั้นขอกล่าวเรื่องนี้นิดนึง เรื่องการันต์ครับ มันคืออะไร อาจจะงง แต่จะเป็นอะไรก็แล้วแต่ มันไม่ใช่การันต์ในภาษาไทยแน่นอน เรื่องมันมีอย่างนี้ครับการันต์ ในภาษาบาลีหมายถึง สระที่อยู่ท้ายสุดของคำ ไม่ต้องงงครับ ดูตัวอย่างก่อน เช่น ปุริส (ปุ-ริ-สะ) พยางค์สุดท้ายออกเสียง อะ อย่างนี้ท่านเรี.... |
เรียนบาลีกันเถอะ (3): ว่าด้วยเพศของภาษาบาลีหลังจากที่ได้ทราบสระและพยัญชนะมาบ้างแล้ว ต่อไปจะพูดถึงลักษณะของภาษาบาลี ในภาษาไทยเราถ้าพูดถึงเพศของภาษา อาจจะไม่ชัดเจนนัก เพราะว่าภาษาเราไม่ได้บ่งบอกเพศชัดเจน เพียงแต่ว่าเราพูดถึงผู้ชายก็บอกว่าเป็นเพศชาย พูดถึงผู้หญิงก็บอกว่าเป็นเพศหญิง พูดง่ายๆ ว่าจัดตามสภาพความเป็นจริงนั่นแหละ แต่ภาษาบาลีนอกจากจะจัดตามความเป็นจริงแล้ว ท่านยังสมมุติให้เป็นเพศนั้นๆ ด้วย .... |
ครั้งที่แ้ล้วพูดถึงเรื่องสระ และพยัญชนะในภาษาบาลี เกี่ยวกับพยัญชนะวรรค และอวรรค อาจจะยังงงๆ ว่าทำไมต้องจัดเป็นวรรคด้วย จะยกตัวอย่างมาให้ดูเผื่อเข้าใจมากขึ้นครับท่านไวยากรณ์บาลีท่านกำหนดเรื่องพยัญชนะตัวสะกดและตัวตามไว้ดังนี้พยัญชนะวรรค ตัวที่ 1 ซ้อนหน้าตัวเอง และตัวที่ 2 ได้ พยัญชนะวรรคตัวที่ 3 ซ้อนหน้าตัวเอง และตัวที่ 4 ส่วนตัวที่ 5 ซ้อนได้ทุกตัวภายในวรรคของตนเอง ยกเว้น ง ตัวเดียว ที่ซ้อนตัวเองไ.... |